วันศุกร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2551

Leaning Tower of Pisa


หอเอนปิซา ภาษาอังกฤษคือ Leaning Tower of Pisaภาษาฝรั่งเศส Tour de Piseภาษาอิตาลี Torre pendente di Pisa หรือ La Torre di Pisaเป็นหอทรงกระบอก 8 ชั้น สร้างด้วยหินอ่อน 181 ฟุต (55 เมตร)เป็นหอระฆังที่มีลักษณะเอียงเหมือนกับจะโค่นล้มเริ่มสร้าง เดือนสิงหาคม ค.ศ. 1174 แต่การก่อสร้างหยุดชะงักเมื่อสร้างไปได้ชั้น 4-5เนื่องจากพื้นใต้ดินเป็นพื้นดินที่นิ่ม ทำให้ยุบตัวอย่างไรก็ตาม หอก็ถูกสร้างเสร็จ 8 ชั้นในปี ค.ศ.1350ซึ่งได้เปลี่ยนแผนการสร้างให้ถ่วงดุลความเอียงของหอโดยที่สถาปนิกเองก็ไม่ค่อยมั่นใจนัก ว่ามันจะออกมาได้สำเร็จหรือไม่ อย่างไรหอเอนปิซานี้ ใช้เวลาสร้างรวมทั้งหมด 176 ปีนับเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใช้เวลาการสร้างยาวนานที่สุดและแม้จะสำเร็จด้วยดี แต่หอก็เอนไปจากแนวตั้งฉากถึง 14 ฟุต แต่ไม่ล้มภายในหอ จะมีเสาหินอ่อนที่สลักลวดลายไว้อย่างสวยงามโดยจิตรกรชื่อดัง กาลิเลโอเคยใช้หอนี้ทดลองเกี่ยวกับเรื่อง แรงโน้มถ่วงปัจจุบันหอถูกปิดไม่ให้นักท่องเที่ยวขึ้นชมแล้วเพื่ออนุรักษ์หอนี้ให้อยู่ในสภาพเอนต่อไป ไม่ให้ล้มลงมาได้

วันพฤหัสบดีที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551

พระราชวังแวร์ซาย



The Château de Versailles, or simply Versailles, is a royal château in Versailles, France.

In English it is often referred to as the Palace of Versailles. When the château was built, Versailles was a country village, but it is now a suburb of Paris. From 1682, when King Louis XIV moved from Paris, until the royal family was forced to return to the capital in 1789', the Court of Versailles was the center of power in Ancien Régime France.

In 1660, royal powers from the advisors who had governed France during his minority, was casting about for a site near Paris but away from the tumults and diseases of the crowded city. He had grown up in the disorders of the civil war between rival factions of aristocrats called the Fronde and wanted a site where he could organize and completely control a government of France by absolute personal rule. He settled on the royal hunting lodge at Versailles, and over the following decades had it expanded into the largest palace in the world. Versailles is famous not only as a building, but as a symbol of the system of absolute monarchy which Louis XIV espoused.